099-449-5699
099-449-5699 [Call Center]
Line ID: @CGDESIGN
cgdesignschool@gmail.com
CGDesignPage


เนื้อหาการอบรม

โปรแกรมที่ใช้

อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ รณกฤต ชั้นแจ่ม (อ.เอก)
สถาปนิก : ออกแบบงานสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในทุกประเภท
อาจารย์พิเศษและวิทยากรพิเศษ : ตามมหาวิทยาลัยและบริษัทของรัฐและเอกชน
อาจารย์ CG Design หลักสูตร Architecture & Interior Design


การศึกษา
ปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม(M.Arch)
มหาวิทยาลัยศิลปากร (เกรดเฉลี่ย3.90)
ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (B.Arch) มหาวิทยาลัยศรีปทุม เกียรตินิยม อันดับ 1

อ่านบทสัมภาษณ์และประวัติอาจารย์ผู้สอนเพิ่มเติม


ระยะเวลาการอบรม

ค่าลงทะเบียนอบรม

วิธีการชำระค่าอบรม
1. เมื่อผู้เรียนได้ทำการจองที่นั่งและรอบในการอบรมแล้วต้องคอนเฟิมชำระค่าเรียนภายใน 1 วันและแจ้งมาให้ทางสถาบันทราบ เมื่อนั้นทางเราขอยกเลิกการจองในทุกกรณี เพื่อให้ผู้เรียนท่านอื่นต่อไป

2. โอนเข้าบัญชีธนาคารได้ดังนี้

ธนาคาร / Bank ชื่อบัญชี / Name สาขา เลขที่บัญชี บัญชี
ธนาคารกสิกรไทย (KBank) นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม
(Mr.Arnon Chanjam)
สยามสแควร์ 026-2-82285-0 ออมทรัพย์
ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม
(Mr.Arnon Chanjam)
สยามสแควร์ 038-404739-2 ออมทรัพย์
ธนาคารกรุงไทย (KTC) นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม
(Mr.Arnon Chanjam)
สยามสแควร์ 052-0-06636-7 ออมทรัพย์
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY) บจก. ซีจีดีไซน์ เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด บิ๊กซี ลาดพร้าว 106-1-35915-7 ออมทรัพย์

3. สั่งจ่ายเช็คขีดคร่อมในนาม บจก. ซีจีดีไซน์ เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์

4. สามารถชำระด้วยบัตรเครดิตได้ที่สถาบัน
**การชำระบัตรเครดิตจะมีค่าธรรมเรียนการใช้บัตร 3% จากราคาที่ชำระค่าอบรม

หมายเหตุ

กรณีโอนเงินกรุณาแฟกซ์ หรือส่งหลักฐานการชำระเงินมาที่สถาบันซีจีดีไซน์ เทรนนิ่งเซ็นเตอร์
หรือช่องทางต่างๆ ที่สะดวกได้ดังนี้
- Line id : @CGDESIGN
- FAX 02-938-6854
- Email มาที่ cgdesignschool@gmail.com
- โทรมาแจ้งที่ Call Center : 099-449-5699 (ติดต่อคุณปู)
และนำใบโอนเงินมาในวันอบรม

การยกเลิก : กรณีที่ท่านได้สำรองที่นั่งไว้แล้ว และจ่ายค่าอบรมแล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วมอบรมได้ ทางสถาบันฯจะไม่คืนค่าอบรมไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น

** หากมีรายละเอียดสอบถามเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ Call Center : 099-449-5699 (ติดต่อคุณปู)


พื้นฐานผู้เข้าอบรม

หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ

สิ่งที่จะได้รับหลังจากเข้ารับอบรม

เนื้อหาการอบรม
Lesson 01 : รู้จักโปรแกรมและหลักการใช้งานเบื้องต้นของโปรแกรม
• แนวความคิดในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบงานทุกประเภท
• การติดตั้งโปรแกรมและแก้ปัญหาที่เกิดจากติดตั้ง จาก Autodesk 3dsMAX
• การเลือก Spec เครื่องพิวเตอร์เพื่อการทำงานด้าน 3 มิติที่จะใช้สำหรับงานออกแบบทุกประเภท
• ทำความรู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรมและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับหน้าจอโปรแกรม
• หลักการของการสร้างภาพ 3 มิติ, รูปแบบของโครงสร้าง 3 มิติใน Autodesk 3DS MAX
• เริ่มต้นการใช้งาน Autodesk 3DS MAX
• ความสามารถโดยรวม ของ Autodesk 3DS MAX , Main User Interface (UI) Command Panel , Tab Panel
• หลักการในการตั้งค่า Viewport Configurations(Rendering Method Panel , Layout Panel)
• การใช้งาน Viewport Control และเปลี่ยนชนิดการแสดงผลของ Viewport
• เทคนิคการใช้งาน Asset Browser เกี่ยวกับการดึงไฟล์งานและการติดตั้งโปรแกรมดูไฟล์ใน My computer
• เรียนรู้การควบคุมหน้าจอโปรแกรมเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
• เทคนิคการเรนเดอร์เพื่อ Output ผลงานออกไปเป็น File ภาพนิ่ง
• เทคนิคการตั้งค่าภาพให้มีความคมชัด และลดการประมวลผลของหน้าจอในกรณีที่มีวัตถุเยอะๆ
• เทคนิคในการ Backup Files และการกู้ File กลับมาใช้ใหม่
• เทคนิคการตั้งค่าความละเอียดในการ Output ผลงานให้ได้ความละเอียดเพื่อใช้สำหรับงานสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป
• เทคนิคการปรับหน้าจอเมื่อกรณีที่หน้าต่างโปรแกรมมีปัญหา
• การบันทึกและการเปิดไฟล์ที่ต่างเวอร์ชันกัน
Workshop 1 : ฝึกการควบคุมหน้าจอและการใช้คีย์ลัดที่จำเป็นของโปรแกรม


Lesson : 02 : การตั้งค่าต่างๆใน3DSMAXและ Vrayเพื่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
• การสร้างไฟล์งานต้นแบบ เพื่อความสะดวกต่อการสร้างงาน 3 มิติ ต่อไป
• การปรับแต่งค่า Units Setup เพื่อความถูกต้องของมาตราส่วน
• การปรับแต่งค่าในส่วนของ Grid and Snap Setting
• เรียนรู้การบันทึกไฟล์โมเดลงานของโปรแกรม Autodesk 3dsMAX
• การใช้คำสั่งสี่เหลี่ยมนำมาประกอบและสร้างวัตถุ 3 มิติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
• การปรับแต่งค่า Preference Setting
• เรียนรู้ระบบ Sub-Object ของโมเดล
• การตั้งค่า Template สำหรับผู้ใช้โปรแกรม 3DSMAXอย่างเดียว
• การตั้งค่า Template สำหรับผู้ใช้โปรแกรม 3DSMAXร่วมกับ VRAY
• การตั้งค่าหน้าต่าง Material editor เพื่อใช้วัสดุของ V-Ray
Workshop 2 : การตั้งค่าต่างๆ ทั้งใน 3DSMAX และ V-Rayเบื้องต้นเพื่อการใช้งานที่สะดวก


Lesson : 03 : เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบ Booth design I
Workshop นี้เป็นการนำตัวอย่างงานออกแบบ Exhibition/Booth Designs , Stand design , Product design ที่เป็นงาน
จริงมา ฝึกทดลองสร้างจริงภายในห้องเรียน เพื่อนำความรู้ด้าน Model มาประยุกต์ให้เกิดทักษะ เมื่อไปเจองานจริงได้ต่อไป ซึ่งอาจารย์จะแนะนำเทคนิค และวิธีคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อสามารถไปทำงานในอนาคตต่อไปได้

• การเปลี่ยนแปลงแก้ไขและเคลื่อนย้ายวัตถุ (Transform) แบบ Absolute และ Relative (Offset) Mode
• ทำความเข้าใจหลักการและระบบการขึ้น Model แบบแม่นยำและแบบสัดส่วน
• การใช้งาน Array, Align , Quick Align, Clone, Move, Rotate , Scale
• การใช้คำสั่ง Group และ Ungroup
• การสร้างวัตถุพื้นฐาน ใน Autodesk 3DS Max
• การสร้างและแก้ไขวัตถุด้วยการใช้คำสั่งในกลุ่มของการ Modify ด้วย Editable Poly
• เรียนรู้โครงสร้างที่ประกอบเป็นวัตถุในระดับย่อยในส่วนของ Editable Poly
• เรียนรู้วิธีคิดและการมองวัตถุเพื่อนำมาขึ้นโมเดล 3 มิติ
• การปรับแต่งปุ่มคำสั่งที่แสดงใน Modifier Command Panel
• การเลือก Sub-Object Type Ring & Loop , Grow & Shrink
• การทำงานในระดับ Vertex , Edge , Face , Border , Polygon , Element
• การ Edit Sub-Object Rollout – [Delete & Remove] ,Extrude ,Bevel ,Chamfer ,Inset ,Outline ,Cut ,Insert Vertex ,Connect ,Cap ,Create Shape from Selection ,Hinge from edge ,Edit Trangulation ,Slice , Quick Slice ,Turn
Workshop 3 : สร้างExhibition/Booth Designs , Stand design , Product design ครั้งที่ 1


Lesson : 04 : เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบ Booth design II
• การสร้าง Line ,Rectangle, Circle, Arc, และวัตถุเกี่ยวกับ 2 มิติ ในส่วนของ Spline
• การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude , PathDeform
• หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
• การสร้างตัวอักษร 3 มิติให้มีความหนาโดยคำสั่ง Extrude
• การดัดวัตถุและการแก้ไขวัตถุในกลุ่ม Modify : Bend, lattice, ffd
• การเจาะทะลุวัตถุต่างๆ ด้วยเครื่องมือ Proboonlean • การกำหนดให้เส้น Spline สามารถเรนเดอร์ได้
• การใช้ Lath จากเส้น Spline
• การใส่ตัวอักษร 3 มิติและการลง Font ต่างๆของโปรแกรม
• การนำเส้นจากโปรแกรม Adobe Illustrator เพื่อนำเส้นมาใช้ 3ds max
• การใช้เส้น Line & Spline ในกลุ่ม 2 มิติเพื่อสร้างงานออกแบบ
• การใช้คำสั่งในกลุ่มของ Editable Spline เพื่อแก้ไขเส้น 2 มิติ
• การ Save Perspective Views to Camera
• การวางตำแหน่งกล้องแบบ Target Camera เพื่อสร้างกล้องในการ Output ผลงาน
• การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
• การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ Output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
• การปรับความละเอียด Pixel ให้เหมาะสมกับภาพที่ต้องการ
• การใส่ Background ฉากหลังสีพื้น เพื่อใช้ในการ Check Model
• การใส่สีให้กับตัววัตถุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของงานออกแบบ
• การนำโมเดลจาก Sketchup มาใช้ใน 3dsmax
• การนำโมเดลจาก 3dsmax มาใช้ใน 3dsmax
• เทคนิคการ Render งานด้วย Vray เพื่อ Check มิติของงาน
Workshop 4 : สร้างExhibition/Booth Designs , Stand design , Product design ครั้งที่ 2 (ต่อ)


Lesson : 05 : เรียนรู้การใส่วัสดุและพื้นผิวของ V-Rayพร้อมตกแต่งบรรยากาศในงานออกแบบ
• เรียนรู้การตั้งค่า Materials เบื้องต้น เช่น กระจก , สแตนเลส, ไม้, หิน, น้ำ, Light Box เป็นต้น
• เทคนิคการเลือกสีไม่ให้เพี้ยนไปจากแบบหรือลูกค้ากำหนดมา
• เทคนิคการเลือกสีจาก TOA เพื่อความถูกต้องของสี
• เทคนิคการใช้งานสีและวัสดุในส่วนของ Vray Material เพื่อความสมจริงของงาน
• การจัดลวดลายและพื้นผิวให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม
• การกำหนดพื้นผิววัตถุโดยเลือกจาก Library
• การปรับแต่งวัสดุประตูและหน้าต่าง ในส่วนของ AEC Template
• การกำหนดคุณลักษณะพื้นผิววัตถุแบบมาตรฐาน ( Basic Parameters )
• การปะภาพบนวัตถุ (Image Map)
• การใช้ UVW Map Modifier และปรับให้ได้ระยะตามต้องการ
• การ Save Material เพื่อนำไปใช้ในงานอื่น ๆต่อไป
• การนำ Model หรือวัตถุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น 2 มิติและ 3 มิติเข้ามาใช้งาน
• การใส่ฉากหลัง Background ให้เหมาะสมพร้อมการปรับให้ได้ตำแหน่งตามต้องการโดยไม่ต้องใช้ Photoshop
• เรียนรู้คำสั่งการ Save งาน ไปพร้อมกับ Materials และไฟล์อื่นๆ ใน Scene งานทั้งหมด
• เรียนรู้คำสั่งในการแก้ไข ในกรณีไฟล์งานมองหา Materials ไม่เจอ
• การกำหนด Material ID ให้กับวัตถุที่มีหลายวัสดุใน Object เดียว
Workshop 5 : ฝึกการใส่วัสดุพื้นผิวและตกแต่งบรรยากาศให้กับงานออกแบบที่ผ่านมา


Lesson : 06 : เรียนรู้การจัดแสงด้วยPlug IN V-Rayเบื้องต้นสำหรับงานออกแบบ
• ทำความเข้าใจการออกแบบแสงสว่างทั้งแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์
• หลักการจัดแสง 3 ชนิด ตามมาตรฐานงานสถาปัตยกรรม
• ชนิดของแหล่งกำเนิดแสง (Ambient Light, Omni, Spot Light Directional Light)
• องค์ประกอบของแหล่งกำเนิดแสง และกำหนดค่าต่าง ๆ
( General Parameters, Spotlight Parameters, Shadow Parameters )
• การสร้างเงา เช่น เงาดำของวัตถุทึบแสง, เงาของวัตถุโปร่งแสง
• การกำหนดวัตถุโปร่งแสง, การสร้างวัตถุให้เกิดเงาแบบ Ray-Traced
• การใช้ Photometric Light กับ Illuminating Engineering Society (IES)
• หลักการจัดแสงเพื่อให้เกิดภาพที่สวยงามและสมจริง
• ประสิทธิภาพของโปรแกรมและผลงานที่จัดแสงด้วย Plugin V-Ray
• แนะนำหลักการคิดและทฤษฎีในการออกแบบแสงสำหรับงานสถาปัตยกรรม
• แนะนำวิธีการติดตั้งโปรแกรม V-Ray ให้เหมาะสมกับโปรแกรม 3dsMAX
• เทคนิคการจัดแสง Standard Light ให้กับงานออกแบบโดยใช้การคำนวณแสงของ VRay
• เทคนิคทำให้งานออกแบบมีมิติมีแสงเงาตามซอกมุมต่างๆ
• เทคนิคการใส่แสงจากพระอาทิตย์
• เทคนิคการใส่แสงจากท้องฟ้าเพื่อทำให้งานมีมิติมากขึ้น
• การใส่แสงประดิษฐ์ (IES) ในการงานออกแบบ
• สรุปข้อเสนอแนะ จากประสบการณ์ของวิทยากร
Workshop 6 : ฝึกการจัดแสงและตกแต่งบรรยากาศให้กับงานออกแบบของตัวเองที่ผ่านมา
















Untitled Document